SmartMathsWriter – บทความน่าอ่าน
1.1
---------------------------------------------
---------------------------------------------
อ่านอะไร พัฒนาทักษะด้านภาษา
และ
ช่วยคะแนน GMAT Verbal ให้สูงขึ้น (2.1.1)
และ
ช่วยคะแนน GMAT Verbal ให้สูงขึ้น (2.1.1)
พี่ไม่ได้มีความรู้ด้านภาษาศาสตร์มาก ไม่ได้เรียนจบด้านอักษรศาสตร์มา แต่ความที่ตัวเองอยากเขียนบล็อกแชร์ความรู้และอยากเป็นนักเขียนนิยายด้วย อาจารย์ที่รู้จักจึงแนะนำให้อ่านหนังสือนิยาย เรื่องสั้นหลายเล่ม เพื่อพัฒนาการเขียนของตัวเอง เช่น สี่แผ่นดิน, ทวิภพ, สามก๊ก, นิทานเวตาล ฯลฯ หรือแม้แต่นวนิยายแปลอย่าง Harry Potter การอ่านนิยาย ทำให้พี่เข้าใจภาษาถูกหลักไวยากรณ์ไทย เข้าใจคำ การใช้คำ การลำดับความ การแต่งประโยค วิธีสร้างประโยค อีกทั้งยังเข้าใจแนวคิดในการเขียนถ่ายทอดข้อมูลในงานเขียนนิยาย งานเขียนวิชาการและงานเขียนอื่นๆไปอีกด้วย
ข้อดีของหนังสือนิยายต่างจากหนังสือประเภทอื่นๆ เช่น ข่าวหรือสารคดี ตรงที่วิธีการเขียนเป็นการบรรยายหรือพรรณนาฉาก ตัวละคร บทสนทนา เพื่อให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นภาพ ดังนั้นถ้อยคำที่ใช้จึงประณีต และเน้นการสื่อความหมาย ผู้อ่านจึงได้เรียนรู้ถ้อยคำสำนวนต่างๆได้ถูกต้องตรงความหมาย
ความถนัดด้านภาษา คือ อะไร
ความถนัดด้านภาษาเป็นศิลปะในการใช้ถ้อยคำ การพูด การสื่อสาร การอ่านเอาความเข้าใจตรงเจตนาตามวัตถุประสงค์ สามารถจับประเด็น วิเคราะห์ และ ตีความในสิ่งที่ผู้เขียนเขียนได้ เป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญมากเมื่อมีการทดสอบไอคิว เพราะความถนัดด้านภาษาเป็นองค์ประกอบสำคัญของความฉลาดโดยรวม ซึ่งหลายอาชีพ เช่น นักภาษาศาสตร์ นักเขียน จิตแพทย์ ทนายความ สื่อมวลชน ครูอาจารย์ และ นักบริหาร ฯลฯ จำเป็นต้องมีเชาวน์ด้านภาษาในการทำงานนั้นๆด้วย*
จุดอ่อนของนักเรียนไทยใน GMAT Verbal
นักเรียนนอกที่ใช้ชีวิตประจำวันคลุกคลีกับเจ้าของภาษาในสังคมคนมีความรู้ จะทำ GMAT Verbalได้คะแนนสูงกว่านักเรียนไทย แม้ว่าบางคนนั้น ทำคะแนน Sentence Correction (Grammar) ได้น้อยกว่านักเรียนไทย แต่เปอร์เซ็นต์ไทล์ Verbal เฉลี่ยยังสูงกว่านักเรียนไทยมาก เพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น ???
พี่ได้คุยกับผู้เรียนหลายคนที่จบจากเมืองนอก ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้ เมื่อไม่ใส่ความเห็น (opinion) ของตนเองเข้าไป เพราะอ่านเข้าใจเหมือนเจ้าของภาษา จึงเข้าใจความ (ตรงเจตนา) ที่ผู้เขียนต้องการสื่อตามข้อมูลที่ให้มา และ สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง แบบทดสอบนี้เป็นการวัดว่า น้องเป็นนักอ่าน จับประเด็นตรงจุดประสงค์ของผู้เขียน และ คิดวิเคราะห์ในสิ่งที่อ่านได้หรือไม่
ดังนั้นโจทย์ GMAT Verbal จึงเป็นโจทย์วัดความถนัดด้านภาษาในการอ่านเข้าใจความเหมือนเจ้าของภาษา (Native Speaker) เป็นกลาง ตรงประเด็น สามารถคิดวิเคราะห์ตีความตามข้อมูลเท่าที่ให้มา วิเคราะห์เนื้อหา ความถูกต้องของข้อมูล การใช้เหตุผลไปจนถึงวัตถุประสงค์ของผู้พูด อ่านแล้วคิดตามว่าผู้เขียนต้องการบอกอะไร มีเหตุผลอย่างไร เหตุผลที่อ้างเข้าท่า (มีเหตุผล) หรือไม่ สรุปแล้วเขาต้องการอะไร ฯลฯ
พี่มีความเห็น 3 ประเด็นหลัก ว่าทำไมนักเรียนไทยได้คะแนน GMAT Verbal น้อยมาก จุดอ่อนอยู่ตรงไหน ???
ประการแรก คือ เราไม่ได้เรียนรู้อย่างเจ้าของภาษา ในการใช้ภาษา คำ และ ไวยากรณ์ ฯลฯ อาจต้องหาผู้รู้มาสอนวิธีเรียนรู้ฝึกฝนตนเอง ทั้งคำศัพท์ ไวยากรณ์ การอ่านตีความ ฯลฯ ซึ่งถ้าเรายังไม่คุ้นเคยเหมือนภาษาไทยที่เราเข้าใจ เราก็ยังคงแปลไปตามตัวคำศัพท์และไวยากรณ์ ซึ่งทำให้จับประเด็นตามที่ผู้เขียนต้องการสื่อไม่ได้ และสุดท้ายก็ตอบโจทย์ข้อสอบผิดและช้า
ประการที่สอง คือ เราไม่ได้อ่านสื่อคุณภาพ และ คลุกคลีกับเจ้าของภาษา หนังสือคุณภาพเหมือนเป็นแบบฝึกหัดลับสมองเพิ่มพูนความถนัดด้านภาษา หนังสือดีๆหายากครับ แต่เราสามารถจะรู้ว่าหนังสือเล่มไหนดีหรือไม่ดีอย่างไรได้จากบทความแนะนำหนังสือ หรือ คำแนะนำจากกุรู ครู อาจารย์ และ รายชื่อหนังสือที่ติดอันดับตีพิมพ์หรือขายดี
ประการสุดท้าย คือ เราไม่ขยัน ไม่ฝึกฝนการอ่านมากๆ เป็นเรื่องความตั้งใจพยายามของแต่ละคน ใจใครก็ใจคนนั้น ไม่มีใครบังคับใครได้ แต่ถ้าน้องพยายามจนสำเร็จ น้องก็จะรู้ว่า “ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น” เป็นคำพูดที่จริงเสมอ
ประโยชน์ของการอ่านนิยาย
การอ่านนิยายนอกจากช่วยให้เข้าใจภาษาเหมือนเป็นเจ้าของภาษาแล้ว ยังฝึกให้คิดตามสิ่งที่ได้อ่าน มีความละเอียดในการอ่าน ไม่คิดเอง ไม่เข้าใจเอาเองในทุกเหตุการณ์ เพราะนิยายเป็นเรื่องแต่ง ผู้เขียนเพียงเล่าให้คิดตาม
วิธีพัฒนาความถนัดด้านภาษาโดยการอ่านนิยายนั้น ไม่ใช่อ่านเอาสนุกเพียงรู้เรื่องราวในวันเดียวจบ หรือ อ่านผ่านตาเพียงทราบข่าวบันเทิงในหน้าซุบซิบดารา แต่ตั้งใจอ่านเพื่อพัฒนาวิธีใช้ภาษา เรียนรู้ความหมายของคำเหมือนเป็นเจ้าของภาษา ฝึกวิเคราะห์ไวยากรณ์ วิธีสร้างประโยค วิธีเล่นคำหักมุมความหมาย วิธีพลิกแพลงความหมาย วิธีเปรียบเปรย และ วิธีสื่อความถ่ายทอดความคิดในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ อ่านช้าๆหน้าละ 2 – 3 นาที สะสมประสบการณ์เพียงวันละบทของหนังสือนั้น อ่านมากๆ เรียนรู้สม่ำเสมอ ฝึกฝนอย่างเจ้าของภาษา (Native Speaker) เท่านี้ก็สามารถพัฒนาความถนัดด้านภาษา และ ทำข้อสอบ GMAT Verbal ได้คะแนนสูง (เปอร์เซ็นต์ไทล์ 99) ซึ่งทุกอย่างนี้ขึ้นอยู่ที่ตัวน้องเอง อยู่ที่การฝึกฝนของตนเอง และ เรียนรู้อย่างถูกวิธีครับ
ท้ายสุดนี้ ขอฝากตัวอย่างให้ลองอ่านดูนะครับ
“สารโทลูอีนที่พบในโรงงานเป็นสารก่อมะเร็งหรือเปล่า......เรื่องนี้ไม่ใช่ประเด็นหลัก.....สารโทลูอีนเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองเท่านั้น ยังไม่เคยพบว่ามันก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์”
จากข้อความที่นำมานี้ น้องๆอ่านแล้ว สามารถเข้าใจจุดประสงค์ของผู้พูดหรือเปล่า
ที่มา : ข่าวเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2555
ป.ล. * : ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง ความถนัดด้านภาษา จากหนังสือ “ฝึกสมองให้คิด พิชิตความสำเร็จ” โดย Joel Levy สำนักพิมพ์ Se-Ed
ข้อดีของหนังสือนิยายต่างจากหนังสือประเภทอื่นๆ เช่น ข่าวหรือสารคดี ตรงที่วิธีการเขียนเป็นการบรรยายหรือพรรณนาฉาก ตัวละคร บทสนทนา เพื่อให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นภาพ ดังนั้นถ้อยคำที่ใช้จึงประณีต และเน้นการสื่อความหมาย ผู้อ่านจึงได้เรียนรู้ถ้อยคำสำนวนต่างๆได้ถูกต้องตรงความหมาย
ความถนัดด้านภาษา คือ อะไร
ความถนัดด้านภาษาเป็นศิลปะในการใช้ถ้อยคำ การพูด การสื่อสาร การอ่านเอาความเข้าใจตรงเจตนาตามวัตถุประสงค์ สามารถจับประเด็น วิเคราะห์ และ ตีความในสิ่งที่ผู้เขียนเขียนได้ เป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญมากเมื่อมีการทดสอบไอคิว เพราะความถนัดด้านภาษาเป็นองค์ประกอบสำคัญของความฉลาดโดยรวม ซึ่งหลายอาชีพ เช่น นักภาษาศาสตร์ นักเขียน จิตแพทย์ ทนายความ สื่อมวลชน ครูอาจารย์ และ นักบริหาร ฯลฯ จำเป็นต้องมีเชาวน์ด้านภาษาในการทำงานนั้นๆด้วย*
จุดอ่อนของนักเรียนไทยใน GMAT Verbal
นักเรียนนอกที่ใช้ชีวิตประจำวันคลุกคลีกับเจ้าของภาษาในสังคมคนมีความรู้ จะทำ GMAT Verbalได้คะแนนสูงกว่านักเรียนไทย แม้ว่าบางคนนั้น ทำคะแนน Sentence Correction (Grammar) ได้น้อยกว่านักเรียนไทย แต่เปอร์เซ็นต์ไทล์ Verbal เฉลี่ยยังสูงกว่านักเรียนไทยมาก เพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น ???
พี่ได้คุยกับผู้เรียนหลายคนที่จบจากเมืองนอก ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้ เมื่อไม่ใส่ความเห็น (opinion) ของตนเองเข้าไป เพราะอ่านเข้าใจเหมือนเจ้าของภาษา จึงเข้าใจความ (ตรงเจตนา) ที่ผู้เขียนต้องการสื่อตามข้อมูลที่ให้มา และ สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง แบบทดสอบนี้เป็นการวัดว่า น้องเป็นนักอ่าน จับประเด็นตรงจุดประสงค์ของผู้เขียน และ คิดวิเคราะห์ในสิ่งที่อ่านได้หรือไม่
ดังนั้นโจทย์ GMAT Verbal จึงเป็นโจทย์วัดความถนัดด้านภาษาในการอ่านเข้าใจความเหมือนเจ้าของภาษา (Native Speaker) เป็นกลาง ตรงประเด็น สามารถคิดวิเคราะห์ตีความตามข้อมูลเท่าที่ให้มา วิเคราะห์เนื้อหา ความถูกต้องของข้อมูล การใช้เหตุผลไปจนถึงวัตถุประสงค์ของผู้พูด อ่านแล้วคิดตามว่าผู้เขียนต้องการบอกอะไร มีเหตุผลอย่างไร เหตุผลที่อ้างเข้าท่า (มีเหตุผล) หรือไม่ สรุปแล้วเขาต้องการอะไร ฯลฯ
พี่มีความเห็น 3 ประเด็นหลัก ว่าทำไมนักเรียนไทยได้คะแนน GMAT Verbal น้อยมาก จุดอ่อนอยู่ตรงไหน ???
ประการแรก คือ เราไม่ได้เรียนรู้อย่างเจ้าของภาษา ในการใช้ภาษา คำ และ ไวยากรณ์ ฯลฯ อาจต้องหาผู้รู้มาสอนวิธีเรียนรู้ฝึกฝนตนเอง ทั้งคำศัพท์ ไวยากรณ์ การอ่านตีความ ฯลฯ ซึ่งถ้าเรายังไม่คุ้นเคยเหมือนภาษาไทยที่เราเข้าใจ เราก็ยังคงแปลไปตามตัวคำศัพท์และไวยากรณ์ ซึ่งทำให้จับประเด็นตามที่ผู้เขียนต้องการสื่อไม่ได้ และสุดท้ายก็ตอบโจทย์ข้อสอบผิดและช้า
ประการที่สอง คือ เราไม่ได้อ่านสื่อคุณภาพ และ คลุกคลีกับเจ้าของภาษา หนังสือคุณภาพเหมือนเป็นแบบฝึกหัดลับสมองเพิ่มพูนความถนัดด้านภาษา หนังสือดีๆหายากครับ แต่เราสามารถจะรู้ว่าหนังสือเล่มไหนดีหรือไม่ดีอย่างไรได้จากบทความแนะนำหนังสือ หรือ คำแนะนำจากกุรู ครู อาจารย์ และ รายชื่อหนังสือที่ติดอันดับตีพิมพ์หรือขายดี
ประการสุดท้าย คือ เราไม่ขยัน ไม่ฝึกฝนการอ่านมากๆ เป็นเรื่องความตั้งใจพยายามของแต่ละคน ใจใครก็ใจคนนั้น ไม่มีใครบังคับใครได้ แต่ถ้าน้องพยายามจนสำเร็จ น้องก็จะรู้ว่า “ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น” เป็นคำพูดที่จริงเสมอ
ประโยชน์ของการอ่านนิยาย
การอ่านนิยายนอกจากช่วยให้เข้าใจภาษาเหมือนเป็นเจ้าของภาษาแล้ว ยังฝึกให้คิดตามสิ่งที่ได้อ่าน มีความละเอียดในการอ่าน ไม่คิดเอง ไม่เข้าใจเอาเองในทุกเหตุการณ์ เพราะนิยายเป็นเรื่องแต่ง ผู้เขียนเพียงเล่าให้คิดตาม
วิธีพัฒนาความถนัดด้านภาษาโดยการอ่านนิยายนั้น ไม่ใช่อ่านเอาสนุกเพียงรู้เรื่องราวในวันเดียวจบ หรือ อ่านผ่านตาเพียงทราบข่าวบันเทิงในหน้าซุบซิบดารา แต่ตั้งใจอ่านเพื่อพัฒนาวิธีใช้ภาษา เรียนรู้ความหมายของคำเหมือนเป็นเจ้าของภาษา ฝึกวิเคราะห์ไวยากรณ์ วิธีสร้างประโยค วิธีเล่นคำหักมุมความหมาย วิธีพลิกแพลงความหมาย วิธีเปรียบเปรย และ วิธีสื่อความถ่ายทอดความคิดในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ อ่านช้าๆหน้าละ 2 – 3 นาที สะสมประสบการณ์เพียงวันละบทของหนังสือนั้น อ่านมากๆ เรียนรู้สม่ำเสมอ ฝึกฝนอย่างเจ้าของภาษา (Native Speaker) เท่านี้ก็สามารถพัฒนาความถนัดด้านภาษา และ ทำข้อสอบ GMAT Verbal ได้คะแนนสูง (เปอร์เซ็นต์ไทล์ 99) ซึ่งทุกอย่างนี้ขึ้นอยู่ที่ตัวน้องเอง อยู่ที่การฝึกฝนของตนเอง และ เรียนรู้อย่างถูกวิธีครับ
ท้ายสุดนี้ ขอฝากตัวอย่างให้ลองอ่านดูนะครับ
“สารโทลูอีนที่พบในโรงงานเป็นสารก่อมะเร็งหรือเปล่า......เรื่องนี้ไม่ใช่ประเด็นหลัก.....สารโทลูอีนเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองเท่านั้น ยังไม่เคยพบว่ามันก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์”
จากข้อความที่นำมานี้ น้องๆอ่านแล้ว สามารถเข้าใจจุดประสงค์ของผู้พูดหรือเปล่า
ที่มา : ข่าวเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2555
ป.ล. * : ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง ความถนัดด้านภาษา จากหนังสือ “ฝึกสมองให้คิด พิชิตความสำเร็จ” โดย Joel Levy สำนักพิมพ์ Se-Ed
สะสมประสบการณ์ การอ่านตั้งแต่วันนี้
เพื่อเป็นผู้มีศิลปะ ในการใช้ภาษาอย่างเป็นเลิศ
เพื่อเป็นผู้มีศิลปะ ในการใช้ภาษาอย่างเป็นเลิศ
ผู้เขียน : SmartMathsTutor (กิ๊ก)
(Update 01/06/2555)(Last Update 12/ส.ค./2557)
(Update 01/06/2555)(Last Update 12/ส.ค./2557)
ไม่ระบุชื่อ7/6/55 22:30
สวัสดีค่ะ พี่กิ๊ก ^^ นี่น้องจี๋นะเออ รู้สึกยินดีมากเลย ที่พี่กิ๊กให้มาเม้นงานเขียนของพี่^^
ยอมรับเลยว่าตอนแรกเปิดมาไม่คุ้นหัวข้อเลยค่ะ เรื่อง GMAT Verbal แต่พออ่านเนื้อหาแล้ว ร้อง อ๋อ ขึ้นมาเลย ^^ นับว่าเรื่องนี้มีประโยชน์มากเลยค่ะพี่กิ๊ก เพราะตอนนี้น้องจี๋เองเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว เรื่องการอ่านเพื่อจับใจความ ประเด็นหลักๆ ถูกนำมาขึ้นเป็นหัวข้อใหญ่ในการสอนของวิชาภาษาไทยเลยล่ะคะ เนื้อหาที่พี่เขียนนับว่ามีการเรียนเนื้อหาที่สมบูรณ์ดีแล้วมากๆเลยค่ะ
เห็นด้วยกับพี่กิ๊กมากๆเลยว่า เรื่องการอ่านนิยายมากๆ ช่วยให้จับประเด็นได้ นี่เรื่องจริงเลย เพราะบางทีการที่เราจะเข้าใจเรื่องราว เราก็ต้องเข้าใจศิลปะของผู้เขียนด้วย บางที เกริ่นประโยคมาเป็นเรื่องหนึ่ง แต่พออ่านทั้งหมดเราจะพบเลยว่า สรุปประเด็น แทบจะเป็นคนละเรื่องกับประโยคที่เกริ่นเลย
ขอพูดถึงสำนวนการเขียนอธิบายของพี่กิ๊กนะคะ สำนวนการอธิบายของพี่กิ๊ก ใช้ภาษาที่อ่านแล้วทำความเข้าใจได้ง่าย ไม่วกวน ตรงไปตรงมาดีค่ะ มีการแบ่งแยกประเด็น ทำให้ไม่สับสนกับหัวข้อ แล้วบทความนี้ยังมีประโยชน์เพราะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการทำงานตอนนี้ได้จริงๆ ชอบตรงที่พี่กิ๊กเน้น ใจความสำคัญมากๆค่ะที่บอกว่า
ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้
อันนี้เป็นเรื่องจริงมากๆค่ะ เพราะบางทีเราอ่านบทความบางบทความ เรามักจะตีความไปเองแล้วทั้งๆที่อาจจะยังอ่านไม่จบ ทำให้ผิดวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ตรงนี้เป็นปัจจัยหลักที่ต้องระลึกเสมอเลยในเวลาอ่านงานเขียนแต่ละครั้ง
น้องจี๋คงไม่มีอะไรจะเม้นแล้ว เพราะพี่กิ๊ก ใช้ภาษา สำนวนได้สละสลวย เข้าใจดี เนื้อบทความยังมีประโยชน์อีก ข้อให้พี่กิ๊กประสบความสำเร็จในงานเขียน ตีพิมพ์ออกมาเป็นเล่มให้ได้นะคะ ^^
ยอมรับเลยว่าตอนแรกเปิดมาไม่คุ้นหัวข้อเลยค่ะ เรื่อง GMAT Verbal แต่พออ่านเนื้อหาแล้ว ร้อง อ๋อ ขึ้นมาเลย ^^ นับว่าเรื่องนี้มีประโยชน์มากเลยค่ะพี่กิ๊ก เพราะตอนนี้น้องจี๋เองเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว เรื่องการอ่านเพื่อจับใจความ ประเด็นหลักๆ ถูกนำมาขึ้นเป็นหัวข้อใหญ่ในการสอนของวิชาภาษาไทยเลยล่ะคะ เนื้อหาที่พี่เขียนนับว่ามีการเรียนเนื้อหาที่สมบูรณ์ดีแล้วมากๆเลยค่ะ
เห็นด้วยกับพี่กิ๊กมากๆเลยว่า เรื่องการอ่านนิยายมากๆ ช่วยให้จับประเด็นได้ นี่เรื่องจริงเลย เพราะบางทีการที่เราจะเข้าใจเรื่องราว เราก็ต้องเข้าใจศิลปะของผู้เขียนด้วย บางที เกริ่นประโยคมาเป็นเรื่องหนึ่ง แต่พออ่านทั้งหมดเราจะพบเลยว่า สรุปประเด็น แทบจะเป็นคนละเรื่องกับประโยคที่เกริ่นเลย
ขอพูดถึงสำนวนการเขียนอธิบายของพี่กิ๊กนะคะ สำนวนการอธิบายของพี่กิ๊ก ใช้ภาษาที่อ่านแล้วทำความเข้าใจได้ง่าย ไม่วกวน ตรงไปตรงมาดีค่ะ มีการแบ่งแยกประเด็น ทำให้ไม่สับสนกับหัวข้อ แล้วบทความนี้ยังมีประโยชน์เพราะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการทำงานตอนนี้ได้จริงๆ ชอบตรงที่พี่กิ๊กเน้น ใจความสำคัญมากๆค่ะที่บอกว่า
ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้
อันนี้เป็นเรื่องจริงมากๆค่ะ เพราะบางทีเราอ่านบทความบางบทความ เรามักจะตีความไปเองแล้วทั้งๆที่อาจจะยังอ่านไม่จบ ทำให้ผิดวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ตรงนี้เป็นปัจจัยหลักที่ต้องระลึกเสมอเลยในเวลาอ่านงานเขียนแต่ละครั้ง
น้องจี๋คงไม่มีอะไรจะเม้นแล้ว เพราะพี่กิ๊ก ใช้ภาษา สำนวนได้สละสลวย เข้าใจดี เนื้อบทความยังมีประโยชน์อีก ข้อให้พี่กิ๊กประสบความสำเร็จในงานเขียน ตีพิมพ์ออกมาเป็นเล่มให้ได้นะคะ ^^
ขอบคุณน้องจี๋ นักเขียนนิยายชื่อดังบนเว็บเด็กดี จากใจครับ
จากการที่พี่ได้คุยกับน้อง
พี่ประหลาดใจมาก ที่น้องจี๋อายุแค่ ม.6 แต่สามารถแต่งนิยาย วิเคราะห์บทความ ข่าว และ คำโฆษณาได้อย่างมืออาชีพ
น้องจี๋อ่านแล้วรู้ว่า ผู้เขียนคนนั้น....ต้องการสื่ออะไร เขาเก่ง หรือ มีความสามารถในศาสตร์นั้นๆแค่ไหน จากการที่ได้อ่าน หรือ ฟัง บทความที่ผู้นั้นนำเสนอ
พี่ไม่สงสัยหรอกครับ สำหรับความพยายามของตัวน้องจี๋เอง ที่อยากเป็นเป็นนักเขียนและขยันอ่านตั้งแต่เด็ก ==> พี่เป็นกำลังใจให้น้องจี๋ จนได้รับรางวัลซีไรท์นะครับ
:)))))
ท้ายสุดนี้
- พี่ขอขอบคุณน้องจี๋อีกครั้ง ที่เป็นเหมือนไฟจุดประกายให้พี่สนใจที่จะเป็นนักเขียนเช่นกันครับ
จากการที่พี่ได้คุยกับน้อง
พี่ประหลาดใจมาก ที่น้องจี๋อายุแค่ ม.6 แต่สามารถแต่งนิยาย วิเคราะห์บทความ ข่าว และ คำโฆษณาได้อย่างมืออาชีพ
น้องจี๋อ่านแล้วรู้ว่า ผู้เขียนคนนั้น....ต้องการสื่ออะไร เขาเก่ง หรือ มีความสามารถในศาสตร์นั้นๆแค่ไหน จากการที่ได้อ่าน หรือ ฟัง บทความที่ผู้นั้นนำเสนอ
พี่ไม่สงสัยหรอกครับ สำหรับความพยายามของตัวน้องจี๋เอง ที่อยากเป็นเป็นนักเขียนและขยันอ่านตั้งแต่เด็ก ==> พี่เป็นกำลังใจให้น้องจี๋ จนได้รับรางวัลซีไรท์นะครับ
:)))))
ท้ายสุดนี้
- พี่ขอขอบคุณน้องจี๋อีกครั้ง ที่เป็นเหมือนไฟจุดประกายให้พี่สนใจที่จะเป็นนักเขียนเช่นกันครับ
SmartMathsWriter – บทความน่าอ่าน
1.1
---------------------------------------------
---------------------------------------------
อ่านอะไร พัฒนาทักษะด้านภาษา
และ
ช่วยคะแนน Verbal ให้สูงขึ้น (2.1.1)
และ
ช่วยคะแนน Verbal ให้สูงขึ้น (2.1.1)
พี่ไม่ได้มีความรู้ด้านภาษาศาสตร์มาก ไม่ได้เรียนจบด้านอักษรศาสตร์มา แต่ความที่ตัวเองอยากเขียนบล็อกแชร์ความรู้และอยากเป็นนักเขียนนิยายด้วย อาจารย์ที่รู้จักจึงแนะนำให้อ่านหนังสือนิยาย เรื่องสั้นหลายเล่ม เพื่อพัฒนาการเขียนของตัวเอง เช่น สี่แผ่นดิน, ทวิภพ, สามก๊ก, นิทานเวตาล ฯลฯ หรือแม้แต่นวนิยายแปลอย่าง Harry Potter การอ่านนิยาย ทำให้พี่เข้าใจภาษาถูกหลักไวยากรณ์ไทย เข้าใจคำ การใช้คำ การลำดับความ การแต่งประโยค วิธีสร้างประโยค อีกทั้งยังเข้าใจแนวคิดในการเขียนถ่ายทอดข้อมูลในงานเขียนนิยาย งานเขียนวิชาการและงานเขียนอื่นๆไปอีกด้วย
ข้อดีของหนังสือนิยายต่างจากหนังสือประเภทอื่นๆ เช่น ข่าวหรือสารคดี ตรงที่วิธีการเขียนเป็นการบรรยายหรือพรรณนาฉาก ตัวละคร บทสนทนา เพื่อให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นภาพ ดังนั้นถ้อยคำที่ใช้จึงประณีต และเน้นการสื่อความหมาย ผู้อ่านจึงได้เรียนรู้ถ้อยคำสำนวนต่างๆได้ถูกต้องตรงความหมาย
ความถนัดด้านภาษา คือ อะไร
ความถนัดด้านภาษาเป็นศิลปะในการใช้ถ้อยคำ การพูด การสื่อสาร การอ่านเอาความเข้าใจตรงเจตนาตามวัตถุประสงค์ สามารถจับประเด็น วิเคราะห์ และ ตีความในสิ่งที่ผู้เขียนเขียนได้ เป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญมากเมื่อมีการทดสอบไอคิว เพราะความถนัดด้านภาษาเป็นองค์ประกอบสำคัญของความฉลาดโดยรวม ซึ่งหลายอาชีพ เช่น นักภาษาศาสตร์ นักเขียน จิตแพทย์ ทนายความ สื่อมวลชน ครูอาจารย์ และ นักบริหาร ฯลฯ จำเป็นต้องมีเชาวน์ด้านภาษาในการทำงานนั้นๆด้วย*
จุดอ่อนของนักเรียนไทยใน GMAT Verbal
นักเรียนนอกที่ใช้ชีวิตประจำวันคลุกคลีกับเจ้าของภาษาในสังคมคนมีความรู้ จะทำ GMAT Verbalได้คะแนนสูงกว่านักเรียนไทย แม้ว่าบางคนนั้น ทำคะแนน Sentence Correction (Grammar) ได้น้อยกว่านักเรียนไทย แต่เปอร์เซ็นต์ไทล์ Verbal เฉลี่ยยังสูงกว่านักเรียนไทยมาก เพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น ???
พี่ได้คุยกับผู้เรียนหลายคนที่จบจากเมืองนอก ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้ เมื่อไม่ใส่ความเห็น (opinion) ของตนเองเข้าไป เพราะอ่านเข้าใจเหมือนเจ้าของภาษา จึงเข้าใจความ (ตรงเจตนา) ที่ผู้เขียนต้องการสื่อตามข้อมูลที่ให้มา และ สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง แบบทดสอบนี้เป็นการวัดว่า น้องเป็นนักอ่าน จับประเด็นตรงจุดประสงค์ของผู้เขียน และ คิดวิเคราะห์ในสิ่งที่อ่านได้หรือไม่
ดังนั้นโจทย์ GMAT Verbal จึงเป็นโจทย์วัดความถนัดด้านภาษาในการอ่านเข้าใจความเหมือนเจ้าของภาษา (Native Speaker) เป็นกลาง ตรงประเด็น สามารถคิดวิเคราะห์ตีความตามข้อมูลเท่าที่ให้มา วิเคราะห์เนื้อหา ความถูกต้องของข้อมูล การใช้เหตุผลไปจนถึงวัตถุประสงค์ของผู้พูด อ่านแล้วคิดตามว่าผู้เขียนต้องการบอกอะไร มีเหตุผลอย่างไร เหตุผลที่อ้างเข้าท่า (มีเหตุผล) หรือไม่ สรุปแล้วเขาต้องการอะไร ฯลฯ
พี่มีความเห็น 3 ประเด็นหลัก ว่าทำไมนักเรียนไทยได้คะแนน GMAT Verbal น้อยมาก จุดอ่อนอยู่ตรงไหน ???
ประการแรก คือ เราไม่ได้เรียนรู้อย่างเจ้าของภาษา ในการใช้ภาษา คำ และ ไวยากรณ์ ฯลฯ อาจต้องหาผู้รู้มาสอนวิธีเรียนรู้ฝึกฝนตนเอง ทั้งคำศัพท์ ไวยากรณ์ การอ่านตีความ ฯลฯ ซึ่งถ้าเรายังไม่คุ้นเคยเหมือนภาษาไทยที่เราเข้าใจ เราก็ยังคงแปลไปตามตัวคำศัพท์และไวยากรณ์ ซึ่งทำให้จับประเด็นตามที่ผู้เขียนต้องการสื่อไม่ได้ และสุดท้ายก็ตอบโจทย์ข้อสอบผิดและช้า
ประการที่สอง คือ เราไม่ได้อ่านสื่อคุณภาพ และ คลุกคลีกับเจ้าของภาษา หนังสือคุณภาพเหมือนเป็นแบบฝึกหัดลับสมองเพิ่มพูนความถนัดด้านภาษา หนังสือดีๆหายากครับ แต่เราสามารถจะรู้ว่าหนังสือเล่มไหนดีหรือไม่ดีอย่างไรได้จากบทความแนะนำหนังสือ หรือ คำแนะนำจากกุรู ครู อาจารย์ และ รายชื่อหนังสือที่ติดอันดับตีพิมพ์หรือขายดี
ประการสุดท้าย คือ เราไม่ขยัน ไม่ฝึกฝนการอ่านมากๆ เป็นเรื่องความตั้งใจพยายามของแต่ละคน ใจใครก็ใจคนนั้น ไม่มีใครบังคับใครได้ แต่ถ้าน้องพยายามจนสำเร็จ น้องก็จะรู้ว่า “ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น” เป็นคำพูดที่จริงเสมอ
ประโยชน์ของการอ่านนิยาย
การอ่านนิยายนอกจากช่วยให้เข้าใจภาษาเหมือนเป็นเจ้าของภาษาแล้ว ยังฝึกให้คิดตามสิ่งที่ได้อ่าน มีความละเอียดในการอ่าน ไม่คิดเอง ไม่เข้าใจเอาเองในทุกเหตุการณ์ เพราะนิยายเป็นเรื่องแต่ง ผู้เขียนเพียงเล่าให้คิดตาม
วิธีพัฒนาความถนัดด้านภาษาโดยการอ่านนิยายนั้น ไม่ใช่อ่านเอาสนุกเพียงรู้เรื่องราวในวันเดียวจบ หรือ อ่านผ่านตาเพียงทราบข่าวบันเทิงในหน้าซุบซิบดารา แต่ตั้งใจอ่านเพื่อพัฒนาวิธีใช้ภาษา เรียนรู้ความหมายของคำเหมือนเป็นเจ้าของภาษา ฝึกวิเคราะห์ไวยากรณ์ วิธีสร้างประโยค วิธีเล่นคำหักมุมความหมาย วิธีพลิกแพลงความหมาย วิธีเปรียบเปรย และ วิธีสื่อความถ่ายทอดความคิดในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ อ่านช้าๆหน้าละ 2 – 3 นาที สะสมประสบการณ์เพียงวันละบทของหนังสือนั้น อ่านมากๆ เรียนรู้สม่ำเสมอ ฝึกฝนอย่างเจ้าของภาษา (Native Speaker) เท่านี้ก็สามารถพัฒนาความถนัดด้านภาษา และ ทำข้อสอบ GMAT Verbal ได้คะแนนสูง (เปอร์เซ็นต์ไทล์ 99) ซึ่งทุกอย่างนี้ขึ้นอยู่ที่ตัวน้องเอง อยู่ที่การฝึกฝนของตนเอง และ เรียนรู้อย่างถูกวิธีครับ
ท้ายสุดนี้ ขอฝากตัวอย่างให้ลองอ่านดูนะครับ
“สารโทลูอีนที่พบในโรงงานเป็นสารก่อมะเร็งหรือเปล่า......เรื่องนี้ไม่ใช่ประเด็นหลัก.....สารโทลูอีนเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองเท่านั้น ยังไม่เคยพบว่ามันก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์”
จากข้อความที่นำมานี้ น้องๆอ่านแล้ว สามารถเข้าใจจุดประสงค์ของผู้พูดหรือเปล่า
ที่มา : ข่าวเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2555
ป.ล. * : ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง ความถนัดด้านภาษา จากหนังสือ “ฝึกสมองให้คิด พิชิตความสำเร็จ” โดย Joel Levy สำนักพิมพ์ Se-Ed
ข้อดีของหนังสือนิยายต่างจากหนังสือประเภทอื่นๆ เช่น ข่าวหรือสารคดี ตรงที่วิธีการเขียนเป็นการบรรยายหรือพรรณนาฉาก ตัวละคร บทสนทนา เพื่อให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นภาพ ดังนั้นถ้อยคำที่ใช้จึงประณีต และเน้นการสื่อความหมาย ผู้อ่านจึงได้เรียนรู้ถ้อยคำสำนวนต่างๆได้ถูกต้องตรงความหมาย
ความถนัดด้านภาษา คือ อะไร
ความถนัดด้านภาษาเป็นศิลปะในการใช้ถ้อยคำ การพูด การสื่อสาร การอ่านเอาความเข้าใจตรงเจตนาตามวัตถุประสงค์ สามารถจับประเด็น วิเคราะห์ และ ตีความในสิ่งที่ผู้เขียนเขียนได้ เป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญมากเมื่อมีการทดสอบไอคิว เพราะความถนัดด้านภาษาเป็นองค์ประกอบสำคัญของความฉลาดโดยรวม ซึ่งหลายอาชีพ เช่น นักภาษาศาสตร์ นักเขียน จิตแพทย์ ทนายความ สื่อมวลชน ครูอาจารย์ และ นักบริหาร ฯลฯ จำเป็นต้องมีเชาวน์ด้านภาษาในการทำงานนั้นๆด้วย*
จุดอ่อนของนักเรียนไทยใน GMAT Verbal
นักเรียนนอกที่ใช้ชีวิตประจำวันคลุกคลีกับเจ้าของภาษาในสังคมคนมีความรู้ จะทำ GMAT Verbalได้คะแนนสูงกว่านักเรียนไทย แม้ว่าบางคนนั้น ทำคะแนน Sentence Correction (Grammar) ได้น้อยกว่านักเรียนไทย แต่เปอร์เซ็นต์ไทล์ Verbal เฉลี่ยยังสูงกว่านักเรียนไทยมาก เพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น ???
พี่ได้คุยกับผู้เรียนหลายคนที่จบจากเมืองนอก ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้ เมื่อไม่ใส่ความเห็น (opinion) ของตนเองเข้าไป เพราะอ่านเข้าใจเหมือนเจ้าของภาษา จึงเข้าใจความ (ตรงเจตนา) ที่ผู้เขียนต้องการสื่อตามข้อมูลที่ให้มา และ สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง แบบทดสอบนี้เป็นการวัดว่า น้องเป็นนักอ่าน จับประเด็นตรงจุดประสงค์ของผู้เขียน และ คิดวิเคราะห์ในสิ่งที่อ่านได้หรือไม่
ดังนั้นโจทย์ GMAT Verbal จึงเป็นโจทย์วัดความถนัดด้านภาษาในการอ่านเข้าใจความเหมือนเจ้าของภาษา (Native Speaker) เป็นกลาง ตรงประเด็น สามารถคิดวิเคราะห์ตีความตามข้อมูลเท่าที่ให้มา วิเคราะห์เนื้อหา ความถูกต้องของข้อมูล การใช้เหตุผลไปจนถึงวัตถุประสงค์ของผู้พูด อ่านแล้วคิดตามว่าผู้เขียนต้องการบอกอะไร มีเหตุผลอย่างไร เหตุผลที่อ้างเข้าท่า (มีเหตุผล) หรือไม่ สรุปแล้วเขาต้องการอะไร ฯลฯ
พี่มีความเห็น 3 ประเด็นหลัก ว่าทำไมนักเรียนไทยได้คะแนน GMAT Verbal น้อยมาก จุดอ่อนอยู่ตรงไหน ???
ประการแรก คือ เราไม่ได้เรียนรู้อย่างเจ้าของภาษา ในการใช้ภาษา คำ และ ไวยากรณ์ ฯลฯ อาจต้องหาผู้รู้มาสอนวิธีเรียนรู้ฝึกฝนตนเอง ทั้งคำศัพท์ ไวยากรณ์ การอ่านตีความ ฯลฯ ซึ่งถ้าเรายังไม่คุ้นเคยเหมือนภาษาไทยที่เราเข้าใจ เราก็ยังคงแปลไปตามตัวคำศัพท์และไวยากรณ์ ซึ่งทำให้จับประเด็นตามที่ผู้เขียนต้องการสื่อไม่ได้ และสุดท้ายก็ตอบโจทย์ข้อสอบผิดและช้า
ประการที่สอง คือ เราไม่ได้อ่านสื่อคุณภาพ และ คลุกคลีกับเจ้าของภาษา หนังสือคุณภาพเหมือนเป็นแบบฝึกหัดลับสมองเพิ่มพูนความถนัดด้านภาษา หนังสือดีๆหายากครับ แต่เราสามารถจะรู้ว่าหนังสือเล่มไหนดีหรือไม่ดีอย่างไรได้จากบทความแนะนำหนังสือ หรือ คำแนะนำจากกุรู ครู อาจารย์ และ รายชื่อหนังสือที่ติดอันดับตีพิมพ์หรือขายดี
ประการสุดท้าย คือ เราไม่ขยัน ไม่ฝึกฝนการอ่านมากๆ เป็นเรื่องความตั้งใจพยายามของแต่ละคน ใจใครก็ใจคนนั้น ไม่มีใครบังคับใครได้ แต่ถ้าน้องพยายามจนสำเร็จ น้องก็จะรู้ว่า “ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น” เป็นคำพูดที่จริงเสมอ
ประโยชน์ของการอ่านนิยาย
การอ่านนิยายนอกจากช่วยให้เข้าใจภาษาเหมือนเป็นเจ้าของภาษาแล้ว ยังฝึกให้คิดตามสิ่งที่ได้อ่าน มีความละเอียดในการอ่าน ไม่คิดเอง ไม่เข้าใจเอาเองในทุกเหตุการณ์ เพราะนิยายเป็นเรื่องแต่ง ผู้เขียนเพียงเล่าให้คิดตาม
วิธีพัฒนาความถนัดด้านภาษาโดยการอ่านนิยายนั้น ไม่ใช่อ่านเอาสนุกเพียงรู้เรื่องราวในวันเดียวจบ หรือ อ่านผ่านตาเพียงทราบข่าวบันเทิงในหน้าซุบซิบดารา แต่ตั้งใจอ่านเพื่อพัฒนาวิธีใช้ภาษา เรียนรู้ความหมายของคำเหมือนเป็นเจ้าของภาษา ฝึกวิเคราะห์ไวยากรณ์ วิธีสร้างประโยค วิธีเล่นคำหักมุมความหมาย วิธีพลิกแพลงความหมาย วิธีเปรียบเปรย และ วิธีสื่อความถ่ายทอดความคิดในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ อ่านช้าๆหน้าละ 2 – 3 นาที สะสมประสบการณ์เพียงวันละบทของหนังสือนั้น อ่านมากๆ เรียนรู้สม่ำเสมอ ฝึกฝนอย่างเจ้าของภาษา (Native Speaker) เท่านี้ก็สามารถพัฒนาความถนัดด้านภาษา และ ทำข้อสอบ GMAT Verbal ได้คะแนนสูง (เปอร์เซ็นต์ไทล์ 99) ซึ่งทุกอย่างนี้ขึ้นอยู่ที่ตัวน้องเอง อยู่ที่การฝึกฝนของตนเอง และ เรียนรู้อย่างถูกวิธีครับ
ท้ายสุดนี้ ขอฝากตัวอย่างให้ลองอ่านดูนะครับ
“สารโทลูอีนที่พบในโรงงานเป็นสารก่อมะเร็งหรือเปล่า......เรื่องนี้ไม่ใช่ประเด็นหลัก.....สารโทลูอีนเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองเท่านั้น ยังไม่เคยพบว่ามันก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์”
จากข้อความที่นำมานี้ น้องๆอ่านแล้ว สามารถเข้าใจจุดประสงค์ของผู้พูดหรือเปล่า
ที่มา : ข่าวเมื่อวันที่ 7 พ.ค. 2555
ป.ล. * : ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง ความถนัดด้านภาษา จากหนังสือ “ฝึกสมองให้คิด พิชิตความสำเร็จ” โดย Joel Levy สำนักพิมพ์ Se-Ed
สะสมประสบการณ์ การอ่านตั้งแต่วันนี้
เพื่อเป็นผู้มีศิลปะ ในการใช้ภาษาอย่างเป็นเลิศ
เพื่อเป็นผู้มีศิลปะ ในการใช้ภาษาอย่างเป็นเลิศ
ผู้เขียน : SmartMathsTutor (กิ๊ก)
(Update 01/06/2555)(Last Update 12/ส.ค./2557)
(Update 01/06/2555)(Last Update 12/ส.ค./2557)
ไม่ระบุชื่อ7/6/55 22:30
สวัสดีค่ะ พี่กิ๊ก ^^ นี่น้องจี๋นะเออ รู้สึกยินดีมากเลย ที่พี่กิ๊กให้มาเม้นงานเขียนของพี่^^
ยอมรับเลยว่าตอนแรกเปิดมาไม่คุ้นหัวข้อเลยค่ะ เรื่อง GMAT Verbal แต่พออ่านเนื้อหาแล้ว ร้อง อ๋อ ขึ้นมาเลย ^^ นับว่าเรื่องนี้มีประโยชน์มากเลยค่ะพี่กิ๊ก เพราะตอนนี้น้องจี๋เองเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว เรื่องการอ่านเพื่อจับใจความ ประเด็นหลักๆ ถูกนำมาขึ้นเป็นหัวข้อใหญ่ในการสอนของวิชาภาษาไทยเลยล่ะคะ เนื้อหาที่พี่เขียนนับว่ามีการเรียนเนื้อหาที่สมบูรณ์ดีแล้วมากๆเลยค่ะ
เห็นด้วยกับพี่กิ๊กมากๆเลยว่า เรื่องการอ่านนิยายมากๆ ช่วยให้จับประเด็นได้ นี่เรื่องจริงเลย เพราะบางทีการที่เราจะเข้าใจเรื่องราว เราก็ต้องเข้าใจศิลปะของผู้เขียนด้วย บางที เกริ่นประโยคมาเป็นเรื่องหนึ่ง แต่พออ่านทั้งหมดเราจะพบเลยว่า สรุปประเด็น แทบจะเป็นคนละเรื่องกับประโยคที่เกริ่นเลย
ขอพูดถึงสำนวนการเขียนอธิบายของพี่กิ๊กนะคะ สำนวนการอธิบายของพี่กิ๊ก ใช้ภาษาที่อ่านแล้วทำความเข้าใจได้ง่าย ไม่วกวน ตรงไปตรงมาดีค่ะ มีการแบ่งแยกประเด็น ทำให้ไม่สับสนกับหัวข้อ แล้วบทความนี้ยังมีประโยชน์เพราะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการทำงานตอนนี้ได้จริงๆ ชอบตรงที่พี่กิ๊กเน้น ใจความสำคัญมากๆค่ะที่บอกว่า
ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้
อันนี้เป็นเรื่องจริงมากๆค่ะ เพราะบางทีเราอ่านบทความบางบทความ เรามักจะตีความไปเองแล้วทั้งๆที่อาจจะยังอ่านไม่จบ ทำให้ผิดวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ตรงนี้เป็นปัจจัยหลักที่ต้องระลึกเสมอเลยในเวลาอ่านงานเขียนแต่ละครั้ง
น้องจี๋คงไม่มีอะไรจะเม้นแล้ว เพราะพี่กิ๊ก ใช้ภาษา สำนวนได้สละสลวย เข้าใจดี เนื้อบทความยังมีประโยชน์อีก ข้อให้พี่กิ๊กประสบความสำเร็จในงานเขียน ตีพิมพ์ออกมาเป็นเล่มให้ได้นะคะ ^^
ยอมรับเลยว่าตอนแรกเปิดมาไม่คุ้นหัวข้อเลยค่ะ เรื่อง GMAT Verbal แต่พออ่านเนื้อหาแล้ว ร้อง อ๋อ ขึ้นมาเลย ^^ นับว่าเรื่องนี้มีประโยชน์มากเลยค่ะพี่กิ๊ก เพราะตอนนี้น้องจี๋เองเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว เรื่องการอ่านเพื่อจับใจความ ประเด็นหลักๆ ถูกนำมาขึ้นเป็นหัวข้อใหญ่ในการสอนของวิชาภาษาไทยเลยล่ะคะ เนื้อหาที่พี่เขียนนับว่ามีการเรียนเนื้อหาที่สมบูรณ์ดีแล้วมากๆเลยค่ะ
เห็นด้วยกับพี่กิ๊กมากๆเลยว่า เรื่องการอ่านนิยายมากๆ ช่วยให้จับประเด็นได้ นี่เรื่องจริงเลย เพราะบางทีการที่เราจะเข้าใจเรื่องราว เราก็ต้องเข้าใจศิลปะของผู้เขียนด้วย บางที เกริ่นประโยคมาเป็นเรื่องหนึ่ง แต่พออ่านทั้งหมดเราจะพบเลยว่า สรุปประเด็น แทบจะเป็นคนละเรื่องกับประโยคที่เกริ่นเลย
ขอพูดถึงสำนวนการเขียนอธิบายของพี่กิ๊กนะคะ สำนวนการอธิบายของพี่กิ๊ก ใช้ภาษาที่อ่านแล้วทำความเข้าใจได้ง่าย ไม่วกวน ตรงไปตรงมาดีค่ะ มีการแบ่งแยกประเด็น ทำให้ไม่สับสนกับหัวข้อ แล้วบทความนี้ยังมีประโยชน์เพราะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการทำงานตอนนี้ได้จริงๆ ชอบตรงที่พี่กิ๊กเน้น ใจความสำคัญมากๆค่ะที่บอกว่า
ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า “GMAT Verbal” ต้องเข้าใจความหมายอย่างที่เจ้าของภาษา (native speaker) เข้าใจ โดยไม่แปลตามตัวอักษร และ ไม่คิดเดาความเอาเองว่า ควรจะเป็นอย่างนั้น น่าจะหมายความว่าอย่างนี้
อันนี้เป็นเรื่องจริงมากๆค่ะ เพราะบางทีเราอ่านบทความบางบทความ เรามักจะตีความไปเองแล้วทั้งๆที่อาจจะยังอ่านไม่จบ ทำให้ผิดวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ตรงนี้เป็นปัจจัยหลักที่ต้องระลึกเสมอเลยในเวลาอ่านงานเขียนแต่ละครั้ง
น้องจี๋คงไม่มีอะไรจะเม้นแล้ว เพราะพี่กิ๊ก ใช้ภาษา สำนวนได้สละสลวย เข้าใจดี เนื้อบทความยังมีประโยชน์อีก ข้อให้พี่กิ๊กประสบความสำเร็จในงานเขียน ตีพิมพ์ออกมาเป็นเล่มให้ได้นะคะ ^^
ขอบคุณน้องจี๋ นักเขียนนิยายชื่อดังบนเว็บเด็กดี จากใจครับ
จากการที่พี่ได้คุยกับน้อง
พี่ประหลาดใจมาก ที่น้องจี๋อายุแค่ ม.6 แต่สามารถแต่งนิยาย วิเคราะห์บทความ ข่าว และ คำโฆษณาได้อย่างมืออาชีพ
น้องจี๋อ่านแล้วรู้ว่า ผู้เขียนคนนั้น....ต้องการสื่ออะไร เขาเก่ง หรือ มีความสามารถในศาสตร์นั้นๆแค่ไหน จากการที่ได้อ่าน หรือ ฟัง บทความที่ผู้นั้นนำเสนอ
พี่ไม่สงสัยหรอกครับ สำหรับความพยายามของตัวน้องจี๋เอง ที่อยากเป็นเป็นนักเขียนและขยันอ่านตั้งแต่เด็ก ==> พี่เป็นกำลังใจให้น้องจี๋ จนได้รับรางวัลซีไรท์นะครับ
:)))))
ท้ายสุดนี้
- พี่ขอขอบคุณน้องจี๋อีกครั้ง ที่เป็นเหมือนไฟจุดประกายให้พี่สนใจที่จะเป็นนักเขียนเช่นกันครับ
จากการที่พี่ได้คุยกับน้อง
พี่ประหลาดใจมาก ที่น้องจี๋อายุแค่ ม.6 แต่สามารถแต่งนิยาย วิเคราะห์บทความ ข่าว และ คำโฆษณาได้อย่างมืออาชีพ
น้องจี๋อ่านแล้วรู้ว่า ผู้เขียนคนนั้น....ต้องการสื่ออะไร เขาเก่ง หรือ มีความสามารถในศาสตร์นั้นๆแค่ไหน จากการที่ได้อ่าน หรือ ฟัง บทความที่ผู้นั้นนำเสนอ
พี่ไม่สงสัยหรอกครับ สำหรับความพยายามของตัวน้องจี๋เอง ที่อยากเป็นเป็นนักเขียนและขยันอ่านตั้งแต่เด็ก ==> พี่เป็นกำลังใจให้น้องจี๋ จนได้รับรางวัลซีไรท์นะครับ
:)))))
ท้ายสุดนี้
- พี่ขอขอบคุณน้องจี๋อีกครั้ง ที่เป็นเหมือนไฟจุดประกายให้พี่สนใจที่จะเป็นนักเขียนเช่นกันครับ