SmartMathsTutor – เลขยกกำลัง
3.11.1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (เลขยกกำลัง)
Exponential Functions
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
ความจริงที่ว่า เลขทุกตัวสามารถแสดงให้อยู่ในรูป “ผลคูณของจำนวนเฉพาะ (Product of prime factors)” เช่น 8 = 2 * 2 * 2, 39 = 3 * 13 หรือแม้แต่ 5 = 5 * 1 เป็นต้น และเลข 10,000,000,000 (หมื่นล้าน) ก็เกิดจาก 10 คูณกันสิบตัว (10 * 10 * 10 * 10 * 10 * 10 * 10 * 10 * 10 * 10)........เลขจำนวนมากเช่นนี้ยากต่อการเขียน และ หากไม่มีเครื่องคิดเลขก็ยิ่งยากต่อการคำนวณคูณ-หาร ดังนั้นนักคณิตศาสตร์สมัยก่อนประดิษฐ์เครื่องคิดเลข จึงคิดฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (เลขยกกำลัง) และ กำหนดทฤษฎีขึ้นมา โดยอาศัยความจริงที่ว่า เลขทุกตัวสามารถแสดงให้อยู่ในรูป “ผลคูณของจำนวนเฉพาะ (Product of prime factors)” เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณ ดังนั้นเราสามารถเขียนเลขทุกตัวให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังได้ เช่น 8 = 23 = (2)(2)(2), 36 = 23 * 32 = (2)(2)(3)(3), 5 = 51 เป็นต้น
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
------------------------------------------------------
เทคนิคการสอน
ตัวอย่างคำอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจที่มาของสูตร
ให้เข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล เป็นตรรกะ
ทำให้ผู้เรียนจำได้อย่างมี Mind Map
ตัวอย่างคำอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจที่มาของสูตร
ให้เข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล เป็นตรรกะ
ทำให้ผู้เรียนจำได้อย่างมี Mind Map
สอนให้ผู้เรียนประยุกต์สูตรคณิตศาสตร์ที่เคยเรียนมาแล้ว มาพัฒนาเป็นสูตรใหม่
สอนให้ผู้เรียนรู้ว่า สูตรคณิตศาสตร์ต่างๆก็นำมาจากความจริงของการทดลองซ้ำๆกันจนออกมา
ได้เป็นทฤษฎี ซึ่งเรียกวิธีนี้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัย
No comments:
Post a Comment