3.6.2
วิธีแก้สมการเชิงเส้นสองสมการ สองตัวแปร
Solving Two Linear Equations with Two Unknowns
วิธีแก้สมการเชิงเส้นสองสมการ สองตัวแปร
Solving Two Linear Equations with Two Unknowns
การแก้สมการเชิงเส้นสองสมการ สองตัวแปร มีอยู่ 2 วิธีใหญ่ๆ ดังนี้คือ
1 .วิธี จัดเทอม (Express in term) และวิธีจัดเทอมประยุกต์
2. วิธี กำจัดตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งให้หมดไป (Eliminating)
1 .วิธี จัดเทอม (Express in term) และวิธีจัดเทอมประยุกต์
2. วิธี กำจัดตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งให้หมดไป (Eliminating)
โจทย์
X + Y = 5 ………….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 ……...............เป็นสมการที่ (2)
X + Y = 5 ………….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 ……...............เป็นสมการที่ (2)
วิธีที่ 1 วิธีจัด Term (Express in term)
1.1 เขียนตัวแปรหนึ่งให้อยู่ในรูปของตัวแปรอีกตัวหนึ่ง (จัด Term)
เช่น X + Y = 5 .................สมการที่ (1)
เขียนได้เป็น X = 5 – Y ..................สมการที่ (3)
1.2 แทนค่าตัวแปรที่ได้จากข้อ 1.1 ในสมการที่ไม่ใช่สมการเดิม
จากโจทย์ คือการนำค่า X จากสมการที่ (3) แทนลงไปในสมการที่ (2)
X – Y = 1 …….......สมการที่ (2)
แทนค่าเป็น (5 – Y) – Y = 1 …….......สมการที่ (4)
สังเกตว่า เมื่อแทนค่าแล้ว จะได้สมการใหม่เป็น หนึ่งสมการ หนึ่งตัวแปร ดังนั้นเมื่อจำนวนตัวแปร เท่ากับ จำนวนสมการ เราจึงแก้สมการหาค่าตัวแปรตัวเดียวนั้นได้
1.3 แก้สมการที่ได้จากข้อ 1.2
(5 – Y) – Y = 1 …….......สมการที่ (4)
5 – 2Y = 1
-2Y = 5 – 1
-2Y = -4
Y = 2
1.4 นำค่าที่ได้จากการแก้สมการข้อ 1.3 ไปแทนค่าตัวแปรในสมการใดก็ได้ [สมการที่ (1) หรือ สมการที่ (2) ก็ได้] เพื่อหาค่าตัวแปรที่เหลือ
ในที่นี้แทนค่า Y = 2 ลงในสมการที่ (2)
X – Y = 1 …….......สมการที่ (2)
X – 2 = 1
X = 2 + 1
X = 3
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
และ
1.1 เขียนตัวแปรหนึ่งให้อยู่ในรูปของตัวแปรอีกตัวหนึ่ง (จัด Term)
เช่น X + Y = 5 .................สมการที่ (1)
เขียนได้เป็น X = 5 – Y ..................สมการที่ (3)
1.2 แทนค่าตัวแปรที่ได้จากข้อ 1.1 ในสมการที่ไม่ใช่สมการเดิม
จากโจทย์ คือการนำค่า X จากสมการที่ (3) แทนลงไปในสมการที่ (2)
X – Y = 1 …….......สมการที่ (2)
แทนค่าเป็น (5 – Y) – Y = 1 …….......สมการที่ (4)
สังเกตว่า เมื่อแทนค่าแล้ว จะได้สมการใหม่เป็น หนึ่งสมการ หนึ่งตัวแปร ดังนั้นเมื่อจำนวนตัวแปร เท่ากับ จำนวนสมการ เราจึงแก้สมการหาค่าตัวแปรตัวเดียวนั้นได้
1.3 แก้สมการที่ได้จากข้อ 1.2
(5 – Y) – Y = 1 …….......สมการที่ (4)
5 – 2Y = 1
-2Y = 5 – 1
-2Y = -4
Y = 2
1.4 นำค่าที่ได้จากการแก้สมการข้อ 1.3 ไปแทนค่าตัวแปรในสมการใดก็ได้ [สมการที่ (1) หรือ สมการที่ (2) ก็ได้] เพื่อหาค่าตัวแปรที่เหลือ
ในที่นี้แทนค่า Y = 2 ลงในสมการที่ (2)
X – Y = 1 …….......สมการที่ (2)
X – 2 = 1
X = 2 + 1
X = 3
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
และ
วิธีจัดเทอมประยุกต์ (เป็นเทคนิคประยุกต์จากวิธีจัดเทอม)
คือ เขียนตัวแปรหนึ่งให้อยู่ในรูปของตัวแปรอีกตัวหนึ่งทั้งสองสมการ
X + Y = 5 ...เป็นสมการที่ (1) ==> X = 5 – Y
X – Y = 1 ...เป็นสมการที่ (2) ==> X = 1 + Y
จับ X ของสมการที่ (1) เท่ากับ X ของสมการที่ (2) จะได้ว่า
5 – Y = 1 + Y
5 – 1 = Y + Y
4 = 2Y
Y = 2
นำค่า Y = 2 แทนค่าลงในสมการที่ (1) จะได้ X + 2 = 5
X = 3
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
คือ เขียนตัวแปรหนึ่งให้อยู่ในรูปของตัวแปรอีกตัวหนึ่งทั้งสองสมการ
X + Y = 5 ...เป็นสมการที่ (1) ==> X = 5 – Y
X – Y = 1 ...เป็นสมการที่ (2) ==> X = 1 + Y
จับ X ของสมการที่ (1) เท่ากับ X ของสมการที่ (2) จะได้ว่า
5 – Y = 1 + Y
5 – 1 = Y + Y
4 = 2Y
Y = 2
นำค่า Y = 2 แทนค่าลงในสมการที่ (1) จะได้ X + 2 = 5
X = 3
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
---------------------------------------------------------------------------------------------------------
โจทย์
X + Y = 5 ………….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 ……...............เป็นสมการที่ (2)
X + Y = 5 ………….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 ……...............เป็นสมการที่ (2)
วิธีที่ 2 วิธีกำจัดตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งให้หมดไป (Eliminating) วิธีนี้ใช้เพื่อกำจัดตัวแปรที่เหมือนกันตัวใดตัวหนึ่งออกก่อน ซึ่งตัวแปรนั้นต้องมีสัมประสิทธิ์หน้าตัวแปรเท่ากันด้วย
เราจะกำจัดตัวแปร X ให้หมดไป โดยนำสมการที่ (1) ลบ สมการที่ (2)
X + Y = 5 …….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 …….......เป็นสมการที่ (2)
(1) – (2) จะได้ว่า
(X – X) + (Y – (-Y)) = 5 – 1 (เขียนวงเว็บ เพื่อป้องกันความสับสน)
2Y = 4
Y = 2
นำผลลัพธ์ที่ได้ Y = 2 แทนค่าลงไปในสมการใดก็ได้ ในที่นี่แทนค่าลงไปในสมการที่ (1)
X + Y = 5 …….......สมการที่ (1)
ได้ว่า X + 2 = 5
X = 5 – 2
= 3
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
หรือนำสมการที่ (1) บวก สมการที่ (2) เพื่อกำจัดตัวแปร Y ให้หมดไป........ก็ได้ผลลัพธ์เหมือนกัน
X + Y = 5 …….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 …….......เป็นสมการที่ (2)
(1) + (2) จะได้ว่า
(X + X) + (Y +(-Y)) = 5 + 1
2X = 6
X = 3
นำผลลัพธ์ที่ได้ X = 3 แทนค่าลงไปในสมการใดก็ได้ ในที่นี่ให้แทนค่าลงไปในสมการที่ (2)
X – Y = 1 …….เป็นสมการที่ (2)
3 – Y = 1
Y = 2
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
ข้อสรุป, ข้อสังเกต
ไม่ว่าเราจะใช้วิธีใดในทั้งสองวิธีนี้ (วิธีจัดเทอม, วิธีจัดเทอมประยุกต์ หรือ วิธีกำจัดตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งให้หมดไป) คำตอบที่ได้ต้องเหมือนกัน
เราจะกำจัดตัวแปร X ให้หมดไป โดยนำสมการที่ (1) ลบ สมการที่ (2)
X + Y = 5 …….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 …….......เป็นสมการที่ (2)
(1) – (2) จะได้ว่า
(X – X) + (Y – (-Y)) = 5 – 1 (เขียนวงเว็บ เพื่อป้องกันความสับสน)
2Y = 4
Y = 2
นำผลลัพธ์ที่ได้ Y = 2 แทนค่าลงไปในสมการใดก็ได้ ในที่นี่แทนค่าลงไปในสมการที่ (1)
X + Y = 5 …….......สมการที่ (1)
ได้ว่า X + 2 = 5
X = 5 – 2
= 3
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
หรือนำสมการที่ (1) บวก สมการที่ (2) เพื่อกำจัดตัวแปร Y ให้หมดไป........ก็ได้ผลลัพธ์เหมือนกัน
X + Y = 5 …….......เป็นสมการที่ (1)
X – Y = 1 …….......เป็นสมการที่ (2)
(1) + (2) จะได้ว่า
(X + X) + (Y +(-Y)) = 5 + 1
2X = 6
X = 3
นำผลลัพธ์ที่ได้ X = 3 แทนค่าลงไปในสมการใดก็ได้ ในที่นี่ให้แทนค่าลงไปในสมการที่ (2)
X – Y = 1 …….เป็นสมการที่ (2)
3 – Y = 1
Y = 2
ดังนั้นคำตอบของระบบสมการนี้ คือ X = 3, Y = 2
ข้อสรุป, ข้อสังเกต
ไม่ว่าเราจะใช้วิธีใดในทั้งสองวิธีนี้ (วิธีจัดเทอม, วิธีจัดเทอมประยุกต์ หรือ วิธีกำจัดตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งให้หมดไป) คำตอบที่ได้ต้องเหมือนกัน
---------------------------------------------------------------------------------------------------------
No comments:
Post a Comment